สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด มีนาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร่ ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น

บันทึกกิจกรรมค่ายเยาวชนย้อนหลัง
@ ค่ายโรงเรียนพิชญศึกษา
@ ค่ายวิทย์ ฯ โรงเรียนจิตรลดา
@ ค่ายเยาวชนบ้านกองดิน
@ ค่ายวิทย์ ฯ โรงเรียนวัดไผ่ตัน

@ ค่ายการเคหะแห่งชาติ สมุทรสาคร
@ ค่ายอนุรักษ์สัตว์ป่า โรงงานยาสูบ
@ ค่ายสืบทอดภูมิปัญญา ฯ
@ ค่ายล้านแสงหิ่งห้อย ฯ
@ ค่ายเขาใหญ่ การเคหะแห่งชาติ
@ ค่ายโครงงานฯ รร.บ้านหมอพัฒนาฯ
@ ค่ายวิทย์ รร. เทศบาลวัดดอนไก่ดี
@ ค่ายรักษ์น้ำ รร. วัดสุขไพรวัน
@ ค่ายวิทย์ ฯ รร.เบญจมราชรังสฤษดิ์
@ ค่ายเยาวชน สิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต

ห้องเรียนคนทำค่าย
ผมขับรถผ่านถนนสายลำปลายมาศ-นางรอง ของจังหวัดบุรีรีมย์ สองข้างทางเป็นทุ่งนามีต้นข้าวกล้าตั้งตารอฝนเขียวแบบไม่ชะอุ่มนัก ไม่นานก็มาถึงพื้นที่สีเขียวข้างทาง มีถุงยางอนามัยยักษ์ตั้งตระหง่าน และผ่านมาเพียงร้อยเมตรเศษก็เป็นโรงเรียนมัธยมมีชัยพัฒนา ผมสะดุดตากับซุ้มประตูทางเข้าอย่างจัง สถาปัตยกรรมที่สวยงามสร้างจากไม้ไผ่ จากนั้นผมได้เข้าไปภายในยิ่งทำให้ประทับใจมากขึ้นเมื่อเห็นอาคารเรียนเป็นไม้ไผ่แทรกตัวในสวนใต้ร่มเงาต้นมะม่วง และในที่สุดก็ได้พบกับคุณครูที่ได้นัดหมายกันไว้ เพื่อคุยรายระเลียดค่ายวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน โรงเรียนแห่งนี้ตั้งขึ้นด้วยแนวคิดของดร. มีชัย วีระไวทยะ ผู้ก่อตั้งมูลนิธิมีชัยวีระไวทยะ ซึ่งจัดการเรียนการสอนที่น่าเลื่อมใสยิ่ง นักเรียนคัดเลือกจากชุมชนเป็นเด็กที่มีความยากจน สอนและเรียนรู้โดยเด็กมีส่วนร่วม เด็ก ๆ เรียนฟรีแต่มีเงื่อนไขว่าต้องทำบำเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคม โดยเฉพาะชุมชน เด็ก ๆ เป็นกรรมในการคัดเคือกครูผู้มาสอนด้วย เป็นกรรมการร่วมกับชุมชนด้วย เด็ก ๆ มัธยมตอนนี้มี ๖๒ คน ซึ่งบางส่วนก็จบมาจากระดับประถมศึกษาของโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนาด้วย
ณ โรงเรียนมัธยมมีชัยพัฒนา อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๓
สำรวจพื้นที่จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ณ โรงเรียนที่ใครก็ใฝ่ฝัน
บน : Geodesic เป็นแบบจำลองของอาคารเอนกประสงค์ที่กำลังก่อสร้าง
โรงเรียนได้สร้างบรรยากาศให้สิ่งแวดล้อมเหมาะสมต่อการเรียนรู้ แวดล้อมด้วยพรรณไม้ นก และสัตว์ตัวน้อย ๆ เป็นจุดเด่นที่สำคัญ ที่สามารถกำหนดกิจกรรมสำรวจธรรมชาติได้อย่างดี เช่น นก แมลง ดูดาว โดยเฉพาะการสำรวจธรรมชาติในป่าหลังโรงเรียน ซึ่งน่าสนใจอย่างยิ่งที่สร้างกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้เชื่อม โยงกับวิถีชุมชนที่เขาเป็นอยู่ เช่น กิจกรรมเรียนรู้เห็ดกินได้ พืชสมุนไพร นกป่า สัตว์ในแหล่งน้ำ แมลงกินได้ เป็นต้น ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจร่วมกับวิทยากรยังนำมาเป็นสื่อและวัตถุดิบ ในการเรียนการสอนให้กับครูอีกด้วย การศึกษาธรรมชาตินั้นกว้างนัก ขึ้นอยู่เราเลือกหยิบจับและทำให้เข้าใจถึงแก่นแท้แต่ละด้าน ไม่ว่าจะลึกจะตื้น จะกว้างหรือแคบล้วนมีคนเราเข้าไปเกี่ยวข้อง เพราะเราคือส่วนหนึ่งของธรรมชาตินั้น สิ่งสำคัญคือการแบ่งปันและเข้าถึงธรรมชาติให้กันและกัน
เห็ดและราขนาดใหญ่
นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมที่สามารถจัดให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของที่นี นั่นคือ แสงแดด อากาศที่นี่ร้อนมาก เราสามารถฝึกให้เด็กรู้จักการนำพลังงานจากดวงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์โดย ผ่านกิจกรรมการเรียนในวิชาฟิสิส์ เคมี นอกจากนี้ยังสามารถให้เด็กทำปุ๋ยชีวภาพ แก็สชีวภาพ และการปรับปรุงดินเพื่อการเกษตร ซึ่งหากเด็กจบออกไปก็สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชุมชนบ้านเกิดได้เลย ดังนั้นจึงไม่ใช่สิ่งที่เหนือบ่ากว่าแรงภายใต้เจตนารมที่ดีและจิตวิญญาณของคร ูผู้ให้ เดินดูพื้นที่กันพอควร ได้เวลาที่ต้องรำลาคุณครูกลับบ้าน และเก็บข้อมูลที่ได้มาคิดโจทย์และกิจกรรมต่อ ขอบคุณครูกฐินที่แนะนำและแลกเปลี่ยนความรู้ ที่สำคัญได้เปิดโอกาสให้พวกเราได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ทุกครั้งที่ไปทำกิจกรรมที่ใหม่ พวกเราก็ได้ความรู้ ความคิดใหม่เสมอ นี่คงเป็นผลพวงของการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ.. ขอบคุณอีกครั้ง
ร่วมแสดงความคิดเห็นกิจกรรมที่นี่

โรงเรียนแห่งนี้ไม่เพียงมีกิจกรรมการสอน วิธีการสอนที่น่าสนใจแล้ว ยังมีสถาปัตยกรรมที่มีความโดดเด่น ให้ชุมชนได้เห็นว่าไม้ไผ่ก็มคุณค่าใน ทางการก่อสร้างอีกด้วย และยังเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกับสวนโดยไม่ตัดทิ้งทำลาย ต้นไม้ ทำให้ผมได้เห็นถึงความถ่อมตนใน โรงเรียนแห่งนี้ แต่ความถ่อมตนก็แสดงออกถึงความภูมิใจ อย่างเปิดเผย พร้อมให้คนอื่น ๆ ได้สัมผัสความดีนั้น ผมและคณะมาที่นี่ด้วยได้รับเกียรติให้มาสำรวจ ค่ายวิทยาศาสตร์ ร่วมกับคุณครู เพื่อกำหนดกิจกรรมและฐานความรู้ เป็นการเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับเด็ก ๆ

ภาพซ้าย : บรรยากาศโดยรวม

ฅนไทบ้าน : รายงาน
๒๕ กรกฏาคม ๒๕๕๓
ภาพล่าง : ซุ้มประตูทางเข้า
ห้องเรียนธรรมชาติวิทยา
บันทึกการเดินทางย้อนหลัง
นกกระจอกใหญ่ งานแต่งงานและเหล่าแมลง
บันทึกนกจากเขาสอยดาว

บันทึกจากต้นหว้าในช่วงเวลาปิดเทอมร้อน
ขีดความสามารถรองรับด้านสัตว์ป่า
แนวทางวนเกษตรที่บ้านกุเตอร์โก

เห็ดกินได้ในป่าชุมชนดงใหญ่กับวันวาร
บันทึกจากผ้าป่าสามัคคีที่บ้านกุเตอร์โก
จากผ้าป่าสามัคคีสู่งานวิจัยในบ้านกุเตอร์โก
สำรวจและเรียนรู้โฮย่ากับผู้เชี่ยวชาญ
บันทึกจากประชุมเชิงปฏิบัติการเขาหินปูน
การสำรวจของนักสำรวจธรรมชาติรุ่นเยาว
ประชุมสรุปผลงานโครงการอนุรักษ์แม่น้ำลำคลอง
-