สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด มีนาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

ปักษิกร: รายงาน
๑๑.๐๒.๒๕๖๐
หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร่ ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น
อ่านจดหมาย
อ่านข่าว
ห้องเรียนคนทำค่าย
เห็ดและราขนาดใหญ่
มุมสาระความรู้ กล้วยไม้ เฟิน ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย หญ้า เห็ดราขนาดใหญ่ มอส ไลเคน สาหร่าย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก แมลง แมงมุม แมงป่อง กิ้งกือ ไส้เดือน ปลา หอยแห่งท้องทะเล หอยน้ำจืด หอยทากบก ปู กุ้งและกั้ง ป่าไม้เมืองไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายทางชีวภาพ สภาวะโลกร้อน สึนามิ
นกขมิ้นท้ายทอยดำ นกเปล้าธรรมดา ส่วนบึงน้ำใกล้พบนกยางเปีย นกยางกรอกพันธุ์จีน นกกาน้ำเล็ก เป็นต้น ตอนสายออกเดินป่าศึกษาธรรมชาติในเส้นทางน้ำตกสามหลั่น โดยมีเจ้าหน้าที่อุทยานฯ นำเดินป่า เส้นทาง
เริ่มจากป่าเบญจพรรณแล้งบนลานหินทรายผ่านป่าดงดิบแล้ง จนถึงบริเวณน้ำตกสามหลั่น กลับมายังจุดเริ่ม
ต้น พบร่องรอยสัตว์ป่า เช่น กองมูลชะมดและอีเห็น ร่องรอยการแทะของเม่น เป็นต้น จากนั้นกลับมาสรุปกิจ-
กรรมและปิดค่าย ค่ายนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ขอขอบคุณคุณครูทุกท่าน หัวหน้าฯและเจ้าหน้าที่อุทยานน้ำตก
สามหลั่นทุกคน..
ค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงเรียนเทศบาลบ้านหมี จ. ลพบุรี ๙-๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
" พื้นฐานการเรียนรู้เข้าถึงธรรมชาติและการใช้ชีวิต"
ณ อุทยานแห่งชาติน้ำตกสามหลั่น จ.สระบุรี

นับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มีโอกาสได้เป็นวิทยากรกระบวน การค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสำหรับโรงเรียนเทศบาล บ้านหมี จ. ลพบุรี ท่ามกลางฤดูหนาว อากาศเย็นสบาย ทั้งคุณครูและนักเรียนเกือบ ๗๐ คน ได้กางเต้นท์สัมผัส อากาศเย็นสบายก่อนคืนวันเพ็ญเดือนสาม กิจกรรมเริ่มจาก การกางเต้นท์จัดเตรียมที่พักนอน จากนั้นเข้ากิจกรรมฐาน เรียนรู้ธรรมชาติ ประกอบด้วย ระบบนิเวศน้ำ ระบบนิเวศป่า ไม้ ระบบนิเวศสัตว์ป่า และวิวัฒนาการและ การกำเนิดโลก เมื่อจบกิจกรรมน้องช่วยกันหุงข้าวและทำอาหาร ซึ่งมีการ ประกวดกันในแต่ละกลุ่ม

บันทึกการเดินทางย้อนหลัง
นกกระจอกใหญ่ งานแต่งงานและเหล่าแมลง
บันทึกนกจากเขาสอยดาว

บันทึกจากต้นหว้าในช่วงเวลาปิดเทอมร้อน
ขีดความสามารถรองรับด้านสัตว์ป่า
แนวทางวนเกษตรที่บ้านกุเตอร์โก

เห็ดกินได้ในป่าชุมชนดงใหญ่กับวันวาร
บันทึกจากผ้าป่าสามัคคีที่บ้านกุเตอร์โก
จากผ้าป่าสามัคคีสู่งานวิจัยในบ้านกุเตอร์โก
สำรวจและเรียนรู้โฮย่ากับผู้เชี่ยวชาญ
บันทึกจากประชุมเชิงปฏิบัติการเขาหินปูน
การสำรวจของนักสำรวจธรรมชาติรุ่นเยาว
ประชุมสรุปผลงานโครงการอนุรักษ์แม่น้ำลำคลอง
กลางคืนหลังรับประทานอาหารเย็นเป็นกิจกรรมดูดาวแต่น่าเสียดายคืนเดือนหงาย ทำให้เห็นกลุ่มดาวเลือนลาง จากนั้นพาน้องส่องสัตว์กลางคืน สัตว์ที่พบไม่มากนัก เช่น ลิงลม หิ่งห้อยน้ำจืด นกตบยุงเล็ก ตุ๊กแกบ้าน จิ้งจกหางหนาม กิ้งก่าแก้ว เป็นต้น ตื่นเช้าวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พาน้อง ๆ ดูนกรอบๆลานกางเต้นท์ ซึ่งโชคดี
มากที่ดอกงิ้วป่าและทองกวาวบานสะพรั่งบริเวณนี้ จึงทำให้เห็นนกหลายชนิด เช่น นกขุนทอง นกแขกเต้า