สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด มีนาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

ข้อสรุปของการลงพื้นที่ครั้งนี้ทำให้ได้เรียนรู้พื้นที่ต้น แบบของการปลูกป่าฟื้นฟูระบบนิเวศที่ชุมชนสามารถ ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ด้วย นับว่าเป็นพระปรีชาสามารถของในหลวงรัชการที่ ๙ และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่มีพระเนตรยาวไกล มีความห่วงใยประชาชน อีกทั้งการลงพื้นที่ครั้งนี้ได้เกิดแนวคิดในการสำรวจ ทรัพยากรป่าไม้อันจะเป็นพื้นฐานในการทำงานวิจัยเพื่อ ชุมชนต่อไป ตามรอยพระบาทของพระองค์ท่านทั้งสองพระองค์
ประสิทธิ์ วงษ์พรม : รายงาน ๓ ก.พ. ๖๐
ห้องเรียนธรรมชาติวิทยา
หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร่ ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น
อ่านจดหมาย
อ่านข่าว
ห้องเรียนคนทำค่าย
เห็ดและราขนาดใหญ่
มุมสาระความรู้ กล้วยไม้ เฟิน ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย หญ้า เห็ดราขนาดใหญ่ มอส ไลเคน สาหร่าย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก แมลง แมงมุม แมงป่อง กิ้งกือ ไส้เดือน ปลา หอยแห่งท้องทะเล หอยน้ำจืด หอยทากบก ปู กุ้งและกั้ง ป่าไม้เมืองไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายทางชีวภาพ สภาวะโลกร้อน สึนามิ
ในขณะลงพื้นที่พบนกและร่องรอยสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ นกบั้งรอกใหญ่ นกจับแมลงคอแดง เป็นต้น และยังพบพืชสมุนไพร อีกหลายชนิด หากสามารถนำมาพัฒนาต่อยอด ก็จะสร้างรายได้ให้กับชุมชนในอนาคต รวมทั้งเป็นการสนองตามแนวทางพระราชดำริด้วย
ตามรอยเสด็จโครงการป่ารักน้ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ณ จังหวัดสกลนคร พร้อมกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนครร่วมลงพื้นที่โครงการป่ารักน้ำในพระราชดำริฯ ณ จังหวัดสกลนคร ร่วมวางแผนงานวิจัยความหลากหลาย ทางชีวภาพและแนวทางการพัฒนาชุมชน
สภาพป่าบ้านนาจารกลายเป็นป่าดงดิบ ซึ่งจากเดิมเป็นป่า
เต็งรัง จะพบว่ามีต้นรังยืนต้นตาย เนื่องจากสภาพดิน
เปลี่ยนแปลงไปและมีการป้องกันไฟอย่างดี มีพรรณไม้
พื้นล่างและไม้หนุ่มขึ้นอย่างหนาแน่น แม้พื้นที่ไม่มากแต่สามารถทำหน้าที่ตามระบบนิเวศได้ดี

จากคำบอกเล่าของนายบุญธรรม ศรีสันดอน ว่าในหลวงรัชกาลที่ ๙ พร้อมด้วยสมเด็จพระนาง เจ้าพระบรมราชินีนาถเคยเสด็จมายังบ้านป่ารักน้ำ เพื่อทรงงาน ในตำบลโคกสี อำเภอสว่างแดนดิน ในอดีตป่าโล่งเตียนแทบไม่มีต้นไม้ใหญ่เหลืออยู่เลย แต่จากที่ได้มีโอกาสมาลงพื้นที่ครั้งนี้พบว่าป่าสมบูรณ์มีไม้ ท้องถิ่นแทรกกับต้นยูคาลิปตัส ซึ่งทรงมีพระราชดำริให้ปลูกป่าสามอย่าง ให้ราฎรใช้ประโยชน์ได้

บันทึกการเดินทางย้อนหลัง
นกกระจอกใหญ่ งานแต่งงานและเหล่าแมลง
บันทึกนกจากเขาสอยดาว

บันทึกจากต้นหว้าในช่วงเวลาปิดเทอมร้อน
ขีดความสามารถรองรับด้านสัตว์ป่า
แนวทางวนเกษตรที่บ้านกุเตอร์โก

เห็ดกินได้ในป่าชุมชนดงใหญ่กับวันวาร
บันทึกจากผ้าป่าสามัคคีที่บ้านกุเตอร์โก
จากผ้าป่าสามัคคีสู่งานวิจัยในบ้านกุเตอร์โก
สำรวจและเรียนรู้โฮย่ากับผู้เชี่ยวชาญ
บันทึกจากประชุมเชิงปฏิบัติการเขาหินปูน
การสำรวจของนักสำรวจธรรมชาติรุ่นเยาว
ประชุมสรุปผลงานโครงการอนุรักษ์แม่น้ำลำคลอง